แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร
การสื่อสารนี้เกิดจากแนวความคิดที่วา การสื่อสารเปนกระบวนการ หรอืการแลกเปลี่ยน โดยมีสาระสําคญัที่วา ผูสื่อสารทําหนาที่ทั้งผูสง และผูรับขาว ในขณะเดยีวกัน ไมอาจระบุวา การสื่อสารเริ่มตนและสิ้นสดุที่จุดใด เพราะถือวา การสื่อสารมีลักษณะเปนวงกลม และไมมีที่สิ้นสุด ผูรับขาว และผูสงขาวนอกจากจะทําหนาทที่ั้งการเขารหสั และถอดรหสัแลวยังเปนผูกอใหเกิด ขาวสาร และกาํหนดพฤติกรรม โรเจอร (Rogers, 1976) ไดใหความหมายของการติดตอสื่อสารวาเปนการถายทอดและ แลกเปลี่ยนขอเท็จจริง ความรูสึก ความคิด หรือการกระทาํตาง ๆ โดยมีเจตนาที่จะเปลยี่นพฤติกรรม ของบุคคล พฤติกรรมในที่นี้ หมายถึง การเปลี่ยนความรู ความเขาใจ ทศันคติ และพฤติกรรมที่ แสดงออกโดยเปดเผย แบลโลว กิลสัน และโอดิออรน (Ballow, Gilson and Odiorne, 1962) ไดกลาววา การติดตอสื่อสารในองคการหมายถึง การแลกเปลี่ยนคําพูด อักษร สัญลักษณ หรือขาวสาร เพื่อให สมาชิกในองคการหนึ่งไดเขาใจความหมายและสามารถเขาใจฝายอื่น ได ซึ่งถาพิจารณาในทางการ บริหารองคการอาจจะกลาวใหชดัเจนขึ้นไดวา การตดิตอสื่อสารคือ การกระจายหรือสื่อความหมาย เกี่ยวกับนโยบาย และคําสั่งลงไปยังเบื้องลาง พรอมกับรับขอเสนอแนะความเหน็และความรูสึก ตาง ๆ กลับมา ธร สุนทรายุทธ (ม.ป.ป.) ไดกลาววา การตดิตอสื่อสารเปนปจจยัสําคัญในองคการ ทจี่ะ ทําใหการดําเนินงานเปนไปไดดวยความรวมมือ ประสานงานกับทกุฝาย ปจจัยของการอยูรวมกัน
8
และความรวมมือรวมใจของสมาชิกที่จะชวยกันทํางาน อยางไรก็ตามสิ่งที่จะชวยใหการปฏิบัติงาน ราบรื่นทําใหการประสานงานกนัเปนอยางดีก็คือ การติดตอสื่อสารของสมาชิกในองคการนั่นเอง ชรามม (Schramm, 1973) ไดพยายามอธิบายถึงกระบวนการติดตอสื่อสารเปนวงจรใน การแลกเปลี่ยนขาวสารระหวางบุคคล 2 คน ซึ่งกระบวนการสื่อสารจะเริ่มตั้งแตการแปลความหมาย การถายทอดขาวสารซึ่งกันและกันเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นซ้ํากันไปเรอื่ย จนกวาทั้งสองฝายจะ เขาใจซึ่งกันและกัน สรุปไมมีคําจํากัดความของการสื่อสารอยางใดอยางหนึ่งที่จะนําไปใชกับ พฤติกรรมการสื่อสารไดทุกรูปแบบ แตละคาํจํากัดความจะมีวัตถุประสงค และผลที่เกดิขึ้นแตกตาง กัน จึงทําใหความหมายของการสื่อสารกวาง และนําไปใชในสถานการณตาง ๆ การพจิารณา ความหมายของการสื่อสารจึงตองเลือกใชใหเหมาะสมกบักิจกรรมสื่อสารเปนเรื่อง ๆ ไป ดังนั้น การสื่อสารตองเกี่ยวกับองคประกอบสําคัญ ๆ 3 ประการ อันไดแก ผูสงขาวสาร (Sender) ผูรับ ขาวสาร (Receiver) และตัวขาวสาร (Message) เมื่อนํามารวมกันจะเรยีกวาเปนการสื่อสาร การสื่อสารเปนกิจกรรมที่ไมอยูนิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา และมีความยุงยาก สลับซับซอน การเรียนรูรูปแบบตาง ๆ ของการสื่อสารนั้นมีเหตุผล 4 ประการ คือ 1. ชวยใหมีโอกาสที่จะเลือกกระบวนการของการส่ือสาร และปจจยัตาง ๆ เพื่อนําไปใช กับกิจกรรมทางการสื่อสารที่เกิดขึ้นจริง ทั้งนี้เพราะวาไมมีรูปแบบการสื่อสารอยางใดอยางหนึ่ง เพียงชนดิเดยีวที่สามารถนาํเอาไปใชกับขอมูลตาง ๆ ทางการสื่อสารไดโดยสมบูรณ 2. ชวยใหคนพบความจริงใหม ๆ เกี่ยวกับการสื่อสาร เพราะการสื่อสารแตละรูปแบบ ยอมกอใหเกดิปญหาตาง ๆ กัน 3. ชวยใหเกิดการคาดคะเนลวงหนาเกี่ยวกับการสื่อสารขึ้น และรูปแบบเหลานี้จะชวยให คาดคะเนไดวา อะไรจะเกิดขึ้นในแตละสภาพของการสอื่สาร ซึ่งการคาดคะเนเหลานี้จะชวยให การสื่อสารมีประสิทธิภาพ 4. ชวยใหสามารถหาวิธีมาวัดปจจัย และกระบวนการในการสื่อสารตาง ๆ ได เพราะ รูปแบบ การสื่อสารแตละอยางมักจะมีลักษณะพิเศษที่เปนของตวัเองในเรื่องเกยี่วกับชองทางของ การสื่อสารหรือวิธีการสงขาว ซึ่งจะสามารถวัดขอมูลที่ถูกสงออกไปได รูปแบบการสอื่สารของแมคครอสกี้และรีชมอน แมคครอสกี้และรีชมอน (McCroskey & Richmon, 1997) ไดกลาววาการสื่อสารนี้เกิด จากแนวความคิดที่วา การสอื่สารเปนกระบวนการ หรือการแลกเปลี่ยนโดยมีสาระสาํคัญที่วา ผูสื่อสารทําหนาที่ทั้งผูสง และผูรับขาว ในขณะเดยีวกัน ไมอาจระบวุา การสื่อสารเริ่มตนและสิ้นสุด ที่จุดใด เพราะถือวา การสื่อสารมีลักษณะเปนวงกลม และไมมีที่สิ้นสุดผูรับขาว และผูสงขาว
9
นอกจากจะทําหนาที่ทั้งการเขารหัส และถอดรหัสแลวยังเปนผูกอใหเกดิขาวสาร และกําหนด พฤติกรรม กลาวโดยสรุป การเรียนรูรูปแบบของการสื่อสารหลาย ๆ รูปแบบจะทาํใหเกิดความคิด ความเขาใจในกระบวนการสอื่สาร สามารถเลือกแบบการสื่อสารไปใชไดจริง ทําใหรวูาปญหาที่ เกิดขึ้นในแตละรูปแบบเปนอยางไร จะชวยในการคาดคะเนสิ่งที่จะเกดิขึ้นในการสื่อสารซึ่งเปน การเพิ่มประสทิธิภาพในการสื่อสาร ชองทางการสื่อสาร (Communication Channel) คือ สื่อกลางสําหรับใชนําขาวสารไปยัง ผูรับขาวสาร หรือเปนตัวกลางที่ขาวสารเคลื่อนไหวระหวางผูสงขาวกบัผูรับขาว ลักษณะของชอง ทางการสื่อสารประกอบดวย 3 สวน คือ ตองมีตัวนําขาวสารจากผูสงไปยังผูรับ ตองมีวิธีการที่จะ บันทึกขาวสารลงในตัวนําขาวนั้น และตองมีสิ่งที่ทําใหตัวนําขาวเดนิทางไปผูรับที่เราตองการไดสิ่ง ที่เรียกวาชองทางการสื่อสาร ไดแก ประการแรก คือ คลื่นเสียง ซึ่งจะนาํเสียงของบุคคลแรกให บุคคลที่ 2 ไดยนิ ประการที่สอง ผูสงขาวจะตองมีความสามารถในการพดู คือ พูดเปนภาษาที่คนอนื่ เขาใจได และผูรับขาวกจ็ะตองฟงเปน และประการสุดทาย การที่จะทําใหคลื่นเสียงเคลื่อนที่ไดจาก ผูพูดไปยังผูฟงจะตองมีอากาศเปนตัวรองรับ ในแงของจติวิทยา ชองทางการสื่อสารคือ ความรูสึกที่ผูรับขาวสารสามารถรับรูขาวสาร จากผูสงขาวได หมายความวา เราใหคําจํากัดความของชองทางการสื่อสารในฐานะทเี่ปนกลไกอยาง หนึ่งของความรูสึกภาษาที่จะรับรูขาวสารชองทางการสื่อสารจึงรวมถึงการมองเห็น การไดยิน การสัมผัส การไดกลิ่น และการรูรส โดยสรุป ชองทางการสื่อสารคือ วิธีการที่จะติดตอสื่อสารที่จะชวยใหขาวสารไปยังผูรับ ขาวสาร โดยอาศัยชองทางไปสูประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การมองเห็น การสัมผัส การไดยนิ การได กลิ่น การลิ้มรส โดยใชชองทางคือ การบันทึกขอความ คําสั่งเปนลายลักษณอักษร การพูด การสื่อสารความหมายที่มีประสทิธิภาพ ควรใชชองทางหลาย ๆ ชองทาง ชองทางการติดตอสื่อสาร มีความสําคัญมากในการติดตอสื่อสาร ชองทางที่ใชในการติดตอสื่อสารระหวางผูบังคับบัญชากับ ผูใตบังคับบัญชา ไดแก การพูด (การสั่งงาน การประชุม การติดตอสื่อสารกันทางโทรศัพท การสงขาว การสงขาวทางอินเตอรเน็ท ลายลักษณอักษรหรือสิ่งพิมพ (จดหมาย หนังสือเวียน ประกาศตาง ๆ วารสารภายใน) โสตทัศนูปกรณ (เสยีงตามสาย) สามารถแบงประเภทตามวิธีการ ตาง ๆ ดังนี้คือ การติดตอสื่อสารทางลายลักษณอกัษร การติดตอสื่อสารทางวาจา และ การติดตอสื่อสารที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยี 1. การติดตอสื่อสารทางลายลักษณอกัษร (Written Communication) หมายถึง การติดตอสื่อสารที่แสดงออกโดยการเขียน ซึ่งอาจเปนตัวอักษร หรือตัวเลขแสดงจาํนวนก็ได เชน
10
หนังสือเวยีน และบันทึกโตตอบ (Circulation - Notes - Letters - Memo) ปาย ประกาศ บันทึก ขอความ รายงานประจําป แผงขาวสาร แผนปลิว สิ่งตีพมิพจดหมายขาว และวารสาร คูมือ การปฏิบัติงาน เปนตน สวนมากผูบริหารตองการขาวสารที่บันทึกเปนลายลักษณอักษร แตบางครั้ง การขาดการพจิารณาขอความของขาวสารที่สงมาใหโดยรอบคอบก็อาจจะเกิดผลกระทบที่เสียหาย ตอองคการได (Timm, 1995) โดยมากมกัจะพบวา การสื่อสารดวยการเขียนยากกวาการพูด ทั้งนี้อาจ เปนเพราะบุคคลนั้นมีความสามารถทางภาษานอย เชน ถาเขาทําหนาที่เปนผูสงสาร เขาอาจไมแนใจ ในคําสะกด อกีประการหนึ่ง การติดตอสื่อสารที่อาศยัการเขียนนั้นมกัจะมีลักษณะของ การติดตอสื่อสารทางเดียว 2. การติดตอสื่อสารทางวาจา (Oral Communication) หมายถึง การติดตอสื่อสารที่ แสดงออกโดย การพูด เชน การประชุมกลุม (Group Meeting) การรองทุกขโดยวาจา การปรึกษา หารือ (Counseling) การสัมภาษณพนกังานที่ออก (Exit Interview) การอบรม การสัมมนา การพบปะตวัตอตัว การสนทนาเผชิญหนา การพูดโทรศัพท การฝากบอกตอ และขาวลือ ซึ่ง สรอยตระกูล อรรถมานะ (2541) กลาววา การติดตอสื่อสารดวยคําพูด เปนวิธีการที่ใชกันมาก ที่สุดในการนําเสนอขาวสารจากบุคคลหนงึ่ไปยังอีกบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะนักบรหิารก็มักจะพบวา ตนนั้นอยูในสภาพแวดลอมที่เต็มไปดวยคําพูด แตก็ยังพบปญหาเกี่ยวกบัวิธีการใชภาษาพูด หรือ ปญหาเกี่ยวกับการใชคําที่ใชเฉพาะวงการหนึ่ง ๆ หรือใชเฉพาะในกลุมคน หรือคํายอ รหัส ที่ใชใน องคการใดองคการหนึ่ง การสื่อสารทางวาจา 4 ประกอบดวย 2.1 การสนทนา แบงออกเปน การสนทนาในเรื่องทวั่ไป และการสนทนาในเชิงให คําปรึกษาในการปฏิบัติงานรวมกัน 2.2 การสัมภาษณ เปนการสนทนาที่แบงหนาที่ผูพูดแนนอน คือ ฝายหนึ่งถาม ฝาย หนึ่งตอบ 2.3 การออกคําสั่งดวยวาจา เปนเรื่องที่ปฏิบัติกันอยเูปนประจําทุกหนวยงาน การใช วาจาสั่งงาน ควรสั่งดวยลักษณะที่เด็ดขาด แตนุมนวล โดยผูบริหารควรคํานึงถึงสถานการณดวยวา ควรออกคําสั่งแบบใดกับผูรับคําสั่ง 2.4 การประชมุ การประชุมเปนกิจกรรมที่บุคลากรในหนวยงานจะตองเขาไปมีสวน รวมเสมอ เพราะเปนกิจกรรมที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติงานเปนอยางมาก 3. การติดตอสื่อสารที่ตองใชเทคโนโลยี (Technologies Communication) เทคโนโลยี การสื่อสาร เปนเครื่องมือทางเทคนิค ที่มีประโยชนเปนสวนยอยกลุมหนึ่งของเทคโนโลยีในสังคม มนุษย ซึ่งแตละชนิดจะมีคณุลักษณะเฉพาะตัวที่แตกตางกนัตามแนวคิด และวัตถุประสงคในการใช
11
งาน แตก็มีคณุสมบัติประการหนึ่งที่คลายคลึงกันคือ การเอาชนะขีดจาํกัดความสามารถตาม ธรรมชาติ และเพิ่มประสิทธภิาพในการสื่อสาร เชน การบันทึกและเผยแพรขาวสาร โดยสรุปแลว ชองทางการสื่อสารเปนตัวเชื่อมโยงระหวางผูบริหารกับพนักงานใน การสงตอนโยบายเพื่อนําไปสูการปฏิบัติได ถาขาดชองทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พฤติกรรม การสื่อสารระหวางผูบริหารและพนกังานยอมมีอุปสรรคทําใหการสื่อสารดอยประสิทธิภาพ ดังนนั้ ผูบริหารจําเปนตองเลือกชองทางในการสอื่สารใหเหมาะสม นอกจากผูบริหารจะตองคิดถึงเรื่อง ลักษณะพื้นฐานและความสามารถของพนักงานเพื่อทจี่ะเลือกใชชองทางการสื่อสารที่เหมาะสมแลว การเลือกใชชองทางการสื่อสารควรที่จะนาํชองทางการสื่อสารหลายประเภทมาใชรวมกันอยาง เหมาะสม เพื่อใหเกิดประสิทธิผลในการสื่อสาร และผูบริหารควรพิจารณาเลือกใชชองทาง การสื่อสารตามลักษณะ และจุดมุงหมายของเรื่องที่ตองการจะสื่อไปยงัพนักงานใหรอบคอบ การสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ ภาพรวมของการสื่อสารจากคําทํานายเกยี่วกับสิ่งที่จะ เกิขึ้นในอนาคตของ บิลล เกตส ผูกอตั้งบริษัทไมโครซอฟท ที่วาเทคโนโลยีสมัยใหมจะชวยให การสื่อสารมีรูปแบบที่หลากหลายทั้งรูปและเสียง บิลล เกตส ทํานายวา “การสรางเอกภาพใน เทคโนโลยีการสื่อสารจะชวยขจัดชองวางระหวางวิธีการสื่อสารตาง ๆ ทั้งอีเมล เสียง การประชุม ผานเว็บ และรูปแบบอื่น ๆ อีกมากมาย ทเี่ราใชในชวีิตประจําวันของเรา เทคโนโลยีดังกลาวจะชวย ใหเราเติมเต็มชองวางระหวางอุปกรณที่เราใชติดตอกับผอูื่นเมื่อเราตองการขอมูล และการ ประยุกตใชเครื่องมือเหลาน้ันกับกระบวนการในการดําเนินธุรกจิที่เราจําเปนตองใชขอมูล มันจะ มีผลกระทบตอผลิตภาพ ความคิดริเริ่มสรางสรรค และความรวมมือกนัอยางลึกซึ้งทเีดียว” องคประกอบของกระบวนการสื่อสาร การสื่อสารมีองคประกอบทสี่ําคัญ 4 ประการ คือ (สมิต สัชฌุกร, 2547) 1. ผูสงสาร (Source) คือ ผูตั้งตนทําการส่ือสารกับบุคคล หรือกลุมบุคคลอื่น ผูสงสาร อาจเปนบุคคลเดยีว หรืออาจจะมีมากกวาหนึ่งคนก็ได องคการหรือหนวยงานที่เปนผเูริ่มกระทํา การใหเกิดการสื่อสารก็ถือไดวาเปนผูสงสาร 2. สาร (Message) คือ สาระ เรื่องราว ขาวสาร ที่ผูสงสารตองการสงออกไปสูบุคคล หรือ กลุมบุคคลอื่น สารอาจเปนสิ่งที่มีตัวตน เชน ตัวหนังสือ ตัวเลข รูปภาพ วัตถุตาง ๆ หรือสัญลักษณ ใด ๆ ที่สามารถใหความหมายเปนที่เขาใจได 3. ชองทางที่จะสงสาร หรือสื่อ (Channel or Medium) คือ เครื่องมือ หรือชองทางที่ผูสง สารจะใช เพื่อใหสารนั้นไปถึงบุคคล หรือกลุมบุคคลรับ ชองที่จะสงสาร หรือสื่อตาง ๆ ที่จะนําสาร ไปยังผูรับสารตามที่ผูสงสารมุงหมาย อาจจะเปนสื่อธรรมชาติ เชน อากาศ เปนชองทางที่คลื่นเสียง ผานไปยังผูฟงเสียง หรืออาจจะเปนสื่อที่มนุษยประดิษฐขึ้น เชน วิทยุ โทรทัศน โทรศัพท ฯลฯ
12
4. ผูรับสาร (Receiver) คือ บุคคลหรือกลุมบุคคลที่สามารถรับทราบสารของผูสงสารได ผูรับสารเปนจุดหมายปลายทางของขาวสารเปนบุคคลสําคัญในการชี้ขาดวา การสื่อสารเปนผล หรือไม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น